การกำหนดมาตรฐานคุณภาพของครูในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ครูจะต้องทำกิจกรรม 7 อย่างคือ 1) การวิเคราะห์หลักสูตร 2) การวิเคราะห์ผู้เรียน 3) การจัดกิจกรรมที่หลากหลาย 4) การใช้เทคโนโลยีเป็นแหล่งและสื่อการเรียนรู้ของตนเองและนักเรียน 5) การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงอย่างรอบด้านและเน้นพัฒนาการ 6) การใช้ผลการประเมินเพื่อแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ 7) การใช้การวิจัยปฏิบัติการในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียนและการสอนของตน
จากประเด็นดังกล่าว นักศึกษาจะนำวิธีดังกล่าวมาจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร เมื่อนักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (ข้อสอบ 20 คะแนน) ยกตัวอย่างออกแบบการจัดการเรียนรู้
จากประเด็นดังกล่าว นักศึกษาจะนำวิธีดังกล่าวมาจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร เมื่อนักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (ข้อสอบ 20 คะแนน) ยกตัวอย่างออกแบบการจัดการเรียนรู้
เช่น การจัดการสอนของดิฉัน
1. ดูว่าวิชาที่เราจะสอนหลักสูตรแกนกลางเขากำหนดว่าอย่างไรต้องการให้ผู้เรียนรู้อะไรแล้วนำความสำคัญนั้นมาปรับเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
2. และเรามาดูว่าผู้เรียนมีลักษณะอย่างไร และเราต้องการให้ผู้เรียนรู้อะไร โดยจะต้องเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในการจัดกิจกรรม
3. ในการจัดกิจกรรมเราจะเน้นสื่อเป็นจุดเชื่อมเรื่องต่างๆของกิจกรรม
4. โดยการจัดกิจกรรมเราจะประเมินผลโดยเพื่อนของนักเรียนและครูผู้สอนหรือครูผู้สอนคนอื่น
5. เมื่อได้ผลประเมินมาครูผู้สอนก็นำมา วัดผล วิเคราะห์และสงเคราะห์ออกมา ดูว่าผู้เรียนแต่ละคนผลเป็นอย่างไรแล้วนำส่วนที่บกพร่องไปปรับปรุงแก้ไขไห้ดีขึ้น
6. การจัดการเรียนการสอนจากการสังเกต วัดผล ทดสอบต่างๆ เรานำมาวิจัยดูพฤติกรรมของผู้เรียนและนำไปพัฒนานวัตกรรมสื่อใหม่ๆเพื่อการเรียนรู้และปรับปรุงการสอนให้ดีขึ้นและนำประสบการณ์มาปรับปรุงและแก้ไขนำไปใช้ในอนาคต
1. การวิเคราะห์หลักสูตร
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.1
เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์จากอดีตจนจึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ช่วงชั้นที่ 4
ม. 4- 6
2. วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
เรียนรู้อะไรในสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนาธรรม
ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์สำคัญในอดีต บุคคลสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงๆ ในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมละภูมิปัญญาไทยแหล่งอารยธรรมที่สำคัญของโลก
คุณภาพผู้เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
- มีความรู้เกี่ยวกับความเป็นไปของโลกอย่างกว้างขวางและสึกซึ้งยิงขึ้น
- เป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ มีค่านิคมอันพึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขร่วมทั้งมีศักยภาพเพื่อการศึกษาต่อในชั้นสูงตามความประสงค์ได้
- มีความรู้เรื่องภูมิปัญญา ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทย ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
- มีนิสัยที่ดีในการบริโภค เลือกและตัดสินใจบริโภคได้อย่างเหมาะสมมีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมไทยและสิ่งแวดล้อม มีความรักท้องถิ่นและประเทศชาติ มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามให้กับสังคม
- มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ชี้นำตัวเองได้และสามารถแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ในสังคมได้ตลอดชีวิต
- มีความรู้เกี่ยวกับความเป็นไปของโลกอย่างกว้างขวางและสึกซึ้งยิงขึ้น
- เป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ มีค่านิคมอันพึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขร่วมทั้งมีศักยภาพเพื่อการศึกษาต่อในชั้นสูงตามความประสงค์ได้
- มีความรู้เรื่องภูมิปัญญา ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทย ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
- มีนิสัยที่ดีในการบริโภค เลือกและตัดสินใจบริโภคได้อย่างเหมาะสมมีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมไทยและสิ่งแวดล้อม มีความรักท้องถิ่นและประเทศชาติ มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามให้กับสังคม
- มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ชี้นำตัวเองได้และสามารถแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ในสังคมได้ตลอดชีวิต
2. การวิเคราะห์ผู้เรียน
ข้อมูลที่ควรรู้สำหรับผู้เรียน
-ภูมิหลังทางครอบครัว
-ภูมิหลังทางครอบครัว
-บุคลิกภาพและลักษณะนิสัย
-สุขภาพ
-ความสนใจ/ความถนัดของนักเรียน
-วิธีการเรียนรู้ (Learning style)
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน/ความรู้เดิมของนักเรียน
-ความพร้อมและทักษะพื้นฐานในการเรียนรู้เรื่องใหม่
การใช้ประโยชน์จากข้อมูลของนักเรียน
-ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน
-เตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมและพื้นฐานพอเพียงที่จะเรียนเรื่องใหม่
-วางแผนพัฒนาพฤติกรรมของผู้เรียนที่มีปัญหา
ขั้นตอนการปฏิบัติ
-รวบรวมข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างเป็นระบบ
-วิเคราะห์และจัดกลุ่มตามความแตกต่างระหว่างบุคคล
-นำผลการวิเคราะห์ไปใช้ในการกำหนด กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอน
ผลผลิต/หลักฐาน
-ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับผู้เรียนเป็นรายบุคคล
-แผนการจัดการเรียนการสอนสำหรับผู้เรียนกลุ่มต่างๆ
-รายงานผลการจัดกิจกรรม
การวางแผนเก็บรวบรวมข้อมูล
-กำหนดข้อมูลที่ต้องการ ข้อมูลสำคัญ: ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน เพื่อวางแผนพัฒนาผู้เรียน
-นิยามลักษณะของข้อมูลเกี่ยวกับผู้เรียนเพื่อสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล
กำหนดวิธีการเก็บข้อมูล
เงื่อนไข
- วัยของผู้เรียน
- วัยของผู้เรียน
- ปริมาณผู้เรียน
- ลักษณะของชุมชน
- ทรัพยากรที่ใช้
กำหนดแหล่งข้อมูล
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
- เพื่อนนักเรียน
- ครู
- ครู
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
-สังเกตพฤติกรรม
-ศึกษาร่องรอยหลักฐานจากประวัติหรือบันทึกผลการเรียนที่ผ่านมา
-สอบถาม/สัมภาษณ์นักเรียน ผู้ปกครอง ครู
-สำรวจลักษณะบางประการที่ครูสนใจ
ทดสอบความรู้พื้นฐาน/ความรอบรู้ในเรื่องที่จะเรียน
เครื่องมือที่ใช้
-แบบสังเกตพฤติกรรม
- แบบบันทึกข้อมูล
-แบบสอบถาม
-แบบสัมภาษณ์
- แบบวัดทัศนคติ
- แบบสำรวจโดยให้ผู้เรียนรายงานตนเอง
3. การจัดกิจกรรมที่หลากหลาย
เช่น ไปทัศน์ศึกษา พิพิธภัณฑ์เมืองนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ที่ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ 84 (ทุ่งท่าลาด) ถนนราชดำเนิน ตำบลนาเคียน เวลาทำการ อังคาร-อาทิตย์ (ปิดวันจันทร์) เวลา 09.00-17.00 น. โทรศัพท์ 0 7535 8261 โทรสาร 0 7535 6164 Website : http://www.nakhonmuseum.com/ Email : citymuseum@nakhoncity.org
4. การใช้เทคโนโลยีเป็นแหล่งและสื่อการเรียนรู้ของตนเองและนักเรียน
แหล่งเรียนรู้จากอินเตอร์เน็ต
www1. tv5.co.th
หนังสือประวัติศาสตร์ชาติไทย
5. การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงอย่างรอบด้านและเน้นพัฒนาการ
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ หมายถึง การจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีบทบาทสำคัญในการเป็นผู้เรียนรู้ โดยพยายามจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้สร้างความรู้ได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สื่อ และสิ่งแวดล้อมต่างๆ โดยใช้กระบวนการต่างๆ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และนักเรียนมีโอกาสนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์อื่น คำถามคือ ครูจะมีวิธีการหรือเทคนิคที่จะทำให้เกิดเหตุการณ์นั้นๆได้อย่างไร
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3 ประเด็น คือ
1. เทคนิคการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตัวเอง
2. เทคนิคการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทำงานร่วมกับคนอื่น
3. เทคนิคการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง เป็นการประเมินการแสดงออกของผู้เรียนรอบด้านตลอดเวลาใช้ข้อมูลและวิธีการหลากหลาย ด้วยวิธีการและเครื่องมือ ดังนี้
1. ศึกษาวัตถุประสงค์ของการประเมิน เป็นการประเมิน เพื่อการพัฒนาผู้เรียนรอบด้านดังนั้น จึงใช้วิธีการที่หลากหลาย ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ เช่น การสังเกต สัมภาษณ์ การตรวจผลงาน การทดสอบ บันทึกจากผู้เกี่ยวข้อง การรายงานตนเองของผู้เรียน แฟ้มสะสมงาน เป็นต้น
2. กำหนดเครื่องมือในการประเมิน เมื่อกำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมินให้เป็นการพัฒนาการของผู้เรียนรอบด้านตามสภาพจริงแล้ว ในการกำหนดเรื่องมือจึงเป็นเครื่องมือที่หลากหลาย เป็นต้นว่า
- การบันทึกข้อมูล จากการศึกษา ผลงาน โครงงาน หนังสือที่ผู้เรียนผลิต แบบบันทึกต่างๆ ได้แก่ แบบบันทึกความรู้สึก บันทึกความคิด บันทึกของผู้เกี่ยวข้อง ( นักเรียน เพื่อน ครู ผู้ปกครอง ) หลักฐานร่องรอยหรือผลงานจากการร่วมกิจกรรม เป็นต้น
- แบบสังเกต เป็นการสังเกตพฤติกรรม การร่วมกิจกรรมในสถานการณ์ต่างๆ
- แบบสัมภาษณ์ เป็นการสัมภาษณ์ความรู้สึก ความคิดเห็น ทั้งตัวผู้เรียนและผู้เกื่ยวข้อง
- แฟ้มสะสม เป็นสื่อที่รบรวมผลงานหรือตัวอย่างหรือหลักฐานที่แสดงถึงผลสัมฤทธิ์ ความสามารถ ความพยายาม หรือความถนัดของบุคคลหรือประเด็นที่ต้องเก็บไว้อย่างเป็นระบบ
- แบบทดสอบ เป็นเครื่องมือวัดความ ความเข้าใจที่ยังมีความสำคัญต่อการประเมิน สำหรับผู้ประเมิน ประกอบด้วย ผู้เรียนประเมินตนเอง ครู เพื่อน/กลุ่มเพื่อ ผู้ปกครอง และผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน
6. การใช้ผลการประเมินเพื่อแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ
- ผลการประเมินเพื่อแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาการเพื่อทราบจุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง
- เพื่อนำขอมูลมาปรับปรุงการดำเนินงานของตนเอง
- เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากชุมชน
- เพื่อรายงานผลการประเมินให้สาธารณชนทราบ และได้ข้อมูลที่ช่วยในการวางแผนพัฒนาหน่วยงานต่อไป
- เพื่อทราบจุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง
- เพื่อนำขอมูลมาปรับปรุงการดำเนินงานของตนเอง
- เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากชุมชน
- เพื่อรายงานผลการประเมินให้สาธารณชนทราบ และได้ข้อมูลที่ช่วยในการวางแผนพัฒนาหน่วยงานต่อไป
นำเอากระบวนการวิจัยไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง เช่น มีความคิดใหม่ๆ จัดทำโครงงาน สร้างสื่ออุปกรณ์ สิ่งประดิษฐ์ ผลงานที่เกิดจากการเรียนรู้หรือสร้างสรรค์ นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน แก้ปัญหา ตรวจสอบความรู้ของตนเอง แสวงหาความรู้ใหม่ต่างๆ เกิดการบริโภคนิยมเชิงสร้างสรรค์ ครูผู้สอนในฐานะนักการสอน นักพัฒนาหลักสูตร นักวิจัย ทำการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนเพื่อ แก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพโดยใช้กระบวนการวิจัยในการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนาตนเอง โดยทำการวิจัยควบคู่กับการพัฒนาการเรียน การสอน โดยทำการบูรณาการการจัดการเรียนการสอนใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งเป็นการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ในแผนการเรียนรู้ การหาความรู้หรือวิธีการใหม่ๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับสถานการณ์ของการเรียนการสอนในชั้นเรียน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนและบุคลิกภาพของผู้เรียนให้เป็นไปในแนวทางที่พึงประสงค์ซึ่งเป็นการศึกษารายกรณี
7. การใช้การวิจัยปฏิบัติการในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียนและการสอนของตนเอง
การนำการประเมินผู้เรียนมาปรับปรุงการสอน เช่น การทำรูปแบบนวัตกรรม
นวัตกรรมสามารถจัดทำได้หลายรูปแบบ เช่น
-แผนการสอน
-ชุดการสอน
-คู่มือครู
- บทเรียนสำเร็จรูป
-สไลด์
-ใบความรู้
-สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ
-เกม
-แผนการสอน
-ชุดการสอน
-คู่มือครู
-
-สไลด์
-ใบความรู้
-สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ
-เกม
ตัวอย่างการออกแบบการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 สาระที่ 4 มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์จากอดีตจนจึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
สาระการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ หน่วยที่ 1 เรื่อง ประวัติศาสตร์ชาติไทย เวลา 2 ชั่วโมง
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย
2. ผู้เรียนสามารถอธิบายการทางประวัติศาสตร์วอย่างง่ายได้
1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย
2. ผู้เรียนสามารถอธิบายการทางประวัติศาสตร์วอย่างง่ายได้
3. ผู้เรียนสามารถถ่ายทอดความรู้สึกในการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
พฤติกรรมการแสดงออกที่เป็นหลักฐานพยาน
1. การจดบันทึกข้อมูล
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
3. การอธิบายประวัติความเป็นมา
4. การนำเสนอผลงาน
1. การจดบันทึกข้อมูล
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
3. การอธิบายประวัติความเป็นมา
4. การนำเสนอผลงาน
การวัดผลและประเมินผล
1. ประเมินการจดบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของโรงเรียน
2. ประเมินรายงาน
3. ประเมินแบบสังเกตพฤติกรรม
4. แบบทดสอบก่อน – หลังเรียน
1. ประเมินการจดบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของโรงเรียน
2. ประเมินรายงาน
3. ประเมินแบบสังเกตพฤติกรรม
4. แบบทดสอบก่อน – หลังเรียน
เครื่องมือวัดผลและประเมินผล
1. แบบบันทึก
2. รายงาน
3. แบบสังเกต
4. ผลงาน
5. แบบทดสอบ
1. แบบบันทึก
2. รายงาน
3. แบบสังเกต
4. ผลงาน
5. แบบทดสอบ
สาระการเรียนรู้
วิธีการทางประวัติศาสตร์ที่ใช้ศึกษาความเป็นมาชาติไทย
สื่อการเรียนรู้
1. หนังสือประวัติศาสตร์ชาติไทย
2. แบบทดสอบก่อน – หลังเรียน
3. แบบบันทึก
1. หนังสือประวัติศาสตร์ชาติไทย
2. แบบทดสอบก่อน – หลังเรียน
3. แบบบันทึก
แหล่งการเรียนรู้
1. ห้องสมุด
2. ครูบุคลากรของโรงเรียน
3. โรงเรียน
4. อินเตอร์เน็ต
1. ห้องสมุด
2. ครูบุคลากรของโรงเรียน
3. โรงเรียน
4. อินเตอร์เน็ต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น