Mind Map กับการศึกษาและการจัดการความรู้
แผนที่ความคิดมีความสำคัญต่อนักเรียน นักศึกษาเพราะ
มันเปิดโอกาสและช่วยส่งเสริมให้
- วิเคราะห์และโยงเชื่อม
- เป็นนักคิดที่มีคุณภาพ
- เรียนรู้อย่างมีความหมาย
- คิดอย่างยืดหยุ่นได้
- สื่อสารผู้อื่นได้อย่างชัดเจนและดีขึ้น
- รับผิดชอบและเป็นฝ่ายรุกต่อการเรียนรู้
- ตีความและตีกรอบองค์ความรู้ได้
- แสวงหาความหมาย ไล่ล่าหาโครงสร้างของโลกรอบตัว
- ขยายความ มองออกไปนอกห้องเรียน นอกสถาบันการศึกษา
- จัดการกับปัญหาได้อย่างเป็นระบบแต่ยืดหยุ่น
- เข้าใจและมีทัศนะที่เป็นบวกต่อข้อมูลและข้อโต้แย้ง
- ตัดสินใจอย่างผู้ที่มองรอบด้าน
- เห็นความคิดของตนเอง และพร้อมที่จะแสดงความคิดเห็น
- เป็นการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางอย่างแท้จริง
วิธีการนำเข้าสู่การเรียนรู้ทักษะการเรียน Mind Mapก็คือพยายามเชื่อมโยงความคิดรวบยอดหรือกระบวนทัศน์ของการเรียน Mind Map กับประสบการณ์ตรงในเรื่องแผนที่ของผู้เรียนเอง จากนั้นเริ่มนำเข้าสู่ประเด็นต่างๆดังต่อไปนี้
- การคัดเลือกข้อมูล
- คำกุญแจ/ประเด็นหลัก/สัญลักษณ์
- การจัดระบบเชิงภาพ
- ประโยชน์ใช้สอยของแผนที่
-ลงมือเขียนแผน
ข้อดีของการใช้ Mind Mapช่วยสอน
- ช่วยให้นักเรียนสนใจเรียน
- รู้สึกว่าการเรียนเป็นเรื่องธรรมชาติ สร้างสรรค์สนุกสนาน
- ไม่ซ้ำซาก ยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนได้ง่าย
- นักเรียนรับรู้และเรียนรู้ได้ดีขึ้น
- นักเรียนเข้าใจได้ลึกซึ้งกว่าเดิม
- กระดาษลดลง
- ลดปัญหาการนำเสนอความคิดที่ยาก
มันเปิดโอกาสและช่วยส่งเสริมให้
- วิเคราะห์และโยงเชื่อม
- เป็นนักคิดที่มีคุณภาพ
- เรียนรู้อย่างมีความหมาย
- คิดอย่างยืดหยุ่นได้
- สื่อสารผู้อื่นได้อย่างชัดเจนและดีขึ้น
- รับผิดชอบและเป็นฝ่ายรุกต่อการเรียนรู้
- ตีความและตีกรอบองค์ความรู้ได้
- แสวงหาความหมาย ไล่ล่าหาโครงสร้างของโลกรอบตัว
- ขยายความ มองออกไปนอกห้องเรียน นอกสถาบันการศึกษา
- จัดการกับปัญหาได้อย่างเป็นระบบแต่ยืดหยุ่น
- เข้าใจและมีทัศนะที่เป็นบวกต่อข้อมูลและข้อโต้แย้ง
- ตัดสินใจอย่างผู้ที่มองรอบด้าน
- เห็นความคิดของตนเอง และพร้อมที่จะแสดงความคิดเห็น
- เป็นการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางอย่างแท้จริง
วิธีการนำเข้าสู่การเรียนรู้ทักษะการเรียน Mind Mapก็คือพยายามเชื่อมโยงความคิดรวบยอดหรือกระบวนทัศน์ของการเรียน Mind Map กับประสบการณ์ตรงในเรื่องแผนที่ของผู้เรียนเอง จากนั้นเริ่มนำเข้าสู่ประเด็นต่างๆดังต่อไปนี้
- การคัดเลือกข้อมูล
- คำกุญแจ/ประเด็นหลัก/สัญลักษณ์
- การจัดระบบเชิงภาพ
- ประโยชน์ใช้สอยของแผนที่
-ลงมือเขียนแผน
ข้อดีของการใช้ Mind Mapช่วยสอน
- ช่วยให้นักเรียนสนใจเรียน
- รู้สึกว่าการเรียนเป็นเรื่องธรรมชาติ สร้างสรรค์สนุกสนาน
- ไม่ซ้ำซาก ยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนได้ง่าย
- นักเรียนรับรู้และเรียนรู้ได้ดีขึ้น
- นักเรียนเข้าใจได้ลึกซึ้งกว่าเดิม
- กระดาษลดลง
- ลดปัญหาการนำเสนอความคิดที่ยาก
ตัวอย่างผลการวิจัย แสดงให้เห็นศักยภาพการใช้แผนที่ความคิดและวาดภาพประกอบการสัมภาษณ์ ช่วยให้การบันทึกข้อมูลมีประสิทธิภาพ เกิดการสื่อสารได้สองทางMind Map กับการจัดการความรู้ และ ประสบการณ์การนำ Mind Map มาใช้ในชุมชน Mind Mapสามารถเป็นเครื่องมือในการระดมสมอง ระดมความคิดของชาวบ้านได้มีการพัฒนาความคิดและเป็นเครื่องมือที่นำมาพัฒนาความคิดเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติและทำให้เกิดความรู้มากมายมหาศาล
เทคนิคการ สอนโดยใช้หมวก 6 ใบ เทคนิค หมวก 6 ใบ เป็นเทคนิคการสอนแบบตั้งคำถามเป็นการสอนเพื่อพัฒนาการคิดสำหรับนักเรียน ทุกระดับชั้นมีขั้น ตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ
1. แบ่งนัก เรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6-8 คน
2. แบ่งกลุมนักเรียนให้คิด ดังนี้กลุมที่ 1 ตั้งคำถามให้คิด (สีขาว)
กลุ่มที่ 2 ถามความรู้สึก (สีแดง)
กลุ่มที่ 3 ตรวจสอบหาผลกระทบ (สีดำ)
กลุ่มที่ 4 หาข้อดี (สีเหลือง)
กลุ่มที่ 5 หาทางเลือกในการพัฒนา (สีเขียว)
กลุ่มที่ 6 โครงสร้างกระบวนการคิด3.กลุ่มสรุปแผนการดำเนินโครงการ
จากการศึกษา เรื่อง หมวก 6 ใบ คิด 6 แบบ ทำให้ได้รับความรู้และทดลองฝึกปฎิบัติวิธีการคิดที่หลากหลาย ทำให้ทราบว่า เรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง เราสามารถมีวิธีการคิด หรือมุมมองในเรื่องเดียวกันนั้น ได้หลายแบบ แล้วแต่ว่า คุณคิดโดยใช้หมวกสีใด
ซึ่งการคิดโดย ใช้หมวกสีต่างๆ ล้วนมีประโยชน์ทั้งสิ้น แล้วแต่ความเหมาะสมและการนำไปใช้ประโยชน์ ที่นี้มาดูนะคะว่าหมวก 6 ใบนั้นมีสีอะไรบ้าง และหมายถึงการคิดแบบใดหมวก 6 ใบ หรือ 6 สี
สีขาว หมายถึง การคิดแบบอิงอยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริงข้อมูล และตัวเลข โดยไม่มีอคติ ไม่ลำเอียง
- สวมบทบาทเป็นคอมพิวเตอร์ ให้ข้อเท็จจริงแบบเป็นกลาง และไม่มีอคติ ไม่ต้องตีความ ขอแค่ข้อเท็จจริงเท่านั้น อะไรคือข้อเท็จจริงต่างๆของเรื่องนี้ เมื่อครูต้องการให้เด็กคิดแบบสวมหมวกสีขาวก็ตั้งคำถามให้คิด
ตัวอย่างของคำถาม เช่น
1. เรามีข้อมูลอะไรบ้าง
2. เราต้องการข้อมูลอะไรบ้าง
3. เราได้ข้อมูลที่ต้องการมาด้วยวิธีใด
สีแดง หมายถึง การคิดที่อยู่บนพื้นฐานของอารมณ์และความรู้สึก
- สิ่งที่อยู่ตรงข้ามกับข้อมูลที่เป็นกลาง ลางสังหรณ์ สัญชาตญาณ ความประทับใจ สิ่งที่ไม่ต้องการข้อพิสูจน์ สิ่งที่ไม่ต้องเหตุหรือผลหรือหลักฐานมาอ้างอิง
ตัวอย่างของคำถาม เช่น
1. เรารู้สึกอย่างไร
2. นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่ทำ
3. นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไรกับความคิดนี้
สีดำ หมายถึง การคิดที่อยู่บนพื้นฐานของข้อควรระวัง และคำเตือน เป็นหัวใจของการคิด
- ชี้ให้เห็นถึงจุดอ่อนของเรื่องนั้น คอยเตือนภัยให้ระวังตัว สิ่งนั้นไม่สอดคล้องกับประสบการณ์ในอดีตอย่างไร ทำไมสิ่งนั้นอาจใช้การไม่ได้ ชี้ให้เห็นปัญหาและความยุ่งยาก การอยู่ในกรอบกฎเกณฑ์ ดำรงคุณค่าและจริยธรรม
ตัวอย่างของคำถาม เช่น
1. อะไรคือจุดอ่อน
2. อะไรคือสิ่งที่ผิดพลาด
3. อะไรคือสิ่งที่ยุ่งยาก
สีเหลือง หมายถึง การคิดที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้สึกที่ดี เป็นมุมมองในแง่บวก รวมถึงความหวัง และการคิดในแง่ดี เป็นการคาดการณ์ในเชิงบวก
- เป็นความคิดเชิงบวก สีเหลืองคือสีของแสงแดดและความสว่างสดใส การมองโลกในแง่ดี การมุ่งมองที่ผลประโยชน์ การคิดที่ก่อให้เกิดผล หรือทำให้สิ่งต่างๆเกิดขึ้นได้
ตัวอย่างของคำถาม เช่น
1. จุดดีคือะไร
2. ผลดีคืออะไร
สีเขียว หมายถึง การคิดที่อยู่บนพื้นฐานของความคิดริเริ่ม และความคิดใหม่ๆ
- เป็นความคิดใหม่ๆ แนวคิดใหม่ๆ มุมมองใหม่ๆ การจงใจสร้างความคิดริเร่มใหม่ๆขึ้นมา ทางเลือกใหม่ๆ และอีกหลายทางเลือกใหม่ๆ การเปลี่ยนแป ลง และแง่มุมใหม่ในการมองปัญหา
ตัวอย่างของคำถาม เช่น
1. นักเรียนจะนำความคิดนี้ไปทำอะไร
2. ถ้านักเรียนจะทำให้สิ่งนี้...(ดีขึ้น)...จะต้องเปลี่ยนแปลงอย่างไร
สีฟ้า หมายถึง การคิดที่อยู่บนพื้นฐานของการคิดแบบควบคุม การจัดระบบกระบวนการคิด และการใช้หมวกอื่นๆ
- เป็นการคิดที่เกี่ยวกับการจัดระเบียบการคิด การควบคุมหมวกคิดใบอื่นๆ เป็นการมองภาพรวมข้อสังเกตและสถานการณ์โดยรวม สรุปและลงมติ
ตัวอย่างของคำถาม เช่น
1. อะไรที่ต้องการ
2. ขั้นตอนต่อไปคืออะไร
3. อะไรที่ทำไปก่อนแล้ว
1. แบ่งนัก เรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6-8 คน
2. แบ่งกลุมนักเรียนให้คิด ดังนี้กลุมที่ 1 ตั้งคำถามให้คิด (สีขาว)
กลุ่มที่ 2 ถามความรู้สึก (สีแดง)
กลุ่มที่ 3 ตรวจสอบหาผลกระทบ (สีดำ)
กลุ่มที่ 4 หาข้อดี (สีเหลือง)
กลุ่มที่ 5 หาทางเลือกในการพัฒนา (สีเขียว)
กลุ่มที่ 6 โครงสร้างกระบวนการคิด3.กลุ่มสรุปแผนการดำเนินโครงการ
จากการศึกษา เรื่อง หมวก 6 ใบ คิด 6 แบบ ทำให้ได้รับความรู้และทดลองฝึกปฎิบัติวิธีการคิดที่หลากหลาย ทำให้ทราบว่า เรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง เราสามารถมีวิธีการคิด หรือมุมมองในเรื่องเดียวกันนั้น ได้หลายแบบ แล้วแต่ว่า คุณคิดโดยใช้หมวกสีใด
ซึ่งการคิดโดย ใช้หมวกสีต่างๆ ล้วนมีประโยชน์ทั้งสิ้น แล้วแต่ความเหมาะสมและการนำไปใช้ประโยชน์ ที่นี้มาดูนะคะว่าหมวก 6 ใบนั้นมีสีอะไรบ้าง และหมายถึงการคิดแบบใดหมวก 6 ใบ หรือ 6 สี
สีขาว หมายถึง การคิดแบบอิงอยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริงข้อมูล และตัวเลข โดยไม่มีอคติ ไม่ลำเอียง
- สวมบทบาทเป็นคอมพิวเตอร์ ให้ข้อเท็จจริงแบบเป็นกลาง และไม่มีอคติ ไม่ต้องตีความ ขอแค่ข้อเท็จจริงเท่านั้น อะไรคือข้อเท็จจริงต่างๆของเรื่องนี้ เมื่อครูต้องการให้เด็กคิดแบบสวมหมวกสีขาวก็ตั้งคำถามให้คิด
ตัวอย่างของคำถาม เช่น
1. เรามีข้อมูลอะไรบ้าง
2. เราต้องการข้อมูลอะไรบ้าง
3. เราได้ข้อมูลที่ต้องการมาด้วยวิธีใด
สีแดง หมายถึง การคิดที่อยู่บนพื้นฐานของอารมณ์และความรู้สึก
- สิ่งที่อยู่ตรงข้ามกับข้อมูลที่เป็นกลาง ลางสังหรณ์ สัญชาตญาณ ความประทับใจ สิ่งที่ไม่ต้องการข้อพิสูจน์ สิ่งที่ไม่ต้องเหตุหรือผลหรือหลักฐานมาอ้างอิง
ตัวอย่างของคำถาม เช่น
1. เรารู้สึกอย่างไร
2. นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่ทำ
3. นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไรกับความคิดนี้
สีดำ หมายถึง การคิดที่อยู่บนพื้นฐานของข้อควรระวัง และคำเตือน เป็นหัวใจของการคิด
- ชี้ให้เห็นถึงจุดอ่อนของเรื่องนั้น คอยเตือนภัยให้ระวังตัว สิ่งนั้นไม่สอดคล้องกับประสบการณ์ในอดีตอย่างไร ทำไมสิ่งนั้นอาจใช้การไม่ได้ ชี้ให้เห็นปัญหาและความยุ่งยาก การอยู่ในกรอบกฎเกณฑ์ ดำรงคุณค่าและจริยธรรม
ตัวอย่างของคำถาม เช่น
1. อะไรคือจุดอ่อน
2. อะไรคือสิ่งที่ผิดพลาด
3. อะไรคือสิ่งที่ยุ่งยาก
สีเหลือง หมายถึง การคิดที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้สึกที่ดี เป็นมุมมองในแง่บวก รวมถึงความหวัง และการคิดในแง่ดี เป็นการคาดการณ์ในเชิงบวก
- เป็นความคิดเชิงบวก สีเหลืองคือสีของแสงแดดและความสว่างสดใส การมองโลกในแง่ดี การมุ่งมองที่ผลประโยชน์ การคิดที่ก่อให้เกิดผล หรือทำให้สิ่งต่างๆเกิดขึ้นได้
ตัวอย่างของคำถาม เช่น
1. จุดดีคือะไร
2. ผลดีคืออะไร
สีเขียว หมายถึง การคิดที่อยู่บนพื้นฐานของความคิดริเริ่ม และความคิดใหม่ๆ
- เป็นความคิดใหม่ๆ แนวคิดใหม่ๆ มุมมองใหม่ๆ การจงใจสร้างความคิดริเร่มใหม่ๆขึ้นมา ทางเลือกใหม่ๆ และอีกหลายทางเลือกใหม่ๆ การเปลี่ยนแป ลง และแง่มุมใหม่ในการมองปัญหา
ตัวอย่างของคำถาม เช่น
1. นักเรียนจะนำความคิดนี้ไปทำอะไร
2. ถ้านักเรียนจะทำให้สิ่งนี้...(ดีขึ้น)...จะต้องเปลี่ยนแปลงอย่างไร
สีฟ้า หมายถึง การคิดที่อยู่บนพื้นฐานของการคิดแบบควบคุม การจัดระบบกระบวนการคิด และการใช้หมวกอื่นๆ
- เป็นการคิดที่เกี่ยวกับการจัดระเบียบการคิด การควบคุมหมวกคิดใบอื่นๆ เป็นการมองภาพรวมข้อสังเกตและสถานการณ์โดยรวม สรุปและลงมติ
ตัวอย่างของคำถาม เช่น
1. อะไรที่ต้องการ
2. ขั้นตอนต่อไปคืออะไร
3. อะไรที่ทำไปก่อนแล้ว
ข้อสังเกตในการจัดการเรียนการสอน
1. จุดเน้น การสอนควรเน้นที่ทักษะ หรือหมวกที่กำลังสอน ทบทวนชื่อของหมวกที่ใช้บ่อย ๆ
2. ชัดเจน หลีกเลี่ยงความสับสน ถ้ามีความสับสนให้พิจารณาสิ่งที่ง่าย ๆ โดยให้ตัวอย่างชัดเจน
3.ว่องไวรวดเร็ว ทำแบบฝึกหัดสั้น และสะท้อนผลอย่างรวดเร็ว
4. สนุกสนาน การจัดกิจกรรมต้องใช้ความคิดและแบบฝึกที่มีชีวิตชีวา
นอกจากนี้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้กล่าวถึงขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบหมวกคิด 6 ใบ ไว้ดังนี้
1. การเตรียมการจัดการเรียนรู้
1.1 ผู้สอนควรศึกษาหลักสูตรให้เข้าใจอย่างถ่องแท้จัดทำตารางการวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อตรวจสอบความสอดคล้องสัมพันธ์กับหลักการ จุดหมาย มาตรฐานการเรียนรู้ และคำอธิบายรายวิชาเพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้และออกแบบการจัดการเรียนรู้
1.2 กำหนดเทคนิควิธีสอนและกิจกรรมการสอนที่สอดคล้องกับข้อ 1 โดยเลือกใช้เทคนิควิธีสอนที่หลากหลาย
1.3 สำรวจองค์ประกอบที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
1.3.1 จัดเตรียมสื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.3.2 จัดเตรียมเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่หลากหลายครอบคลุมทั้งด้านพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย และเน้นการประเมินตามสภาพจริง
2. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน เป็นการจัดกิจกรรมที่เน้นกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจมีความพร้อมที่จะเรียนรู้ โดยใช้วิธีการและสื่อที่หลากหลายประกอบการใช้คำถาม กระตุ้นซักถาม ทบทวนหรือแสดงความคิดเห็นให้ผู้เรียนนำประสบการณ์เดิมมาเชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่
2.2 ขั้นดำเนินการสอน เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นการคิดด้วยการใช้คำถามหมวกความคิด 6 ใบ ลักษณะกิจกรรมมุ่งให้ผู้เรียนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้มากที่สุด กล่าวคือ ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ร่วมกันแสดงออกด้วยการตั้งคำถาม ตอบคำ
1. จุดเน้น การสอนควรเน้นที่ทักษะ หรือหมวกที่กำลังสอน ทบทวนชื่อของหมวกที่ใช้บ่อย ๆ
2. ชัดเจน หลีกเลี่ยงความสับสน ถ้ามีความสับสนให้พิจารณาสิ่งที่ง่าย ๆ โดยให้ตัวอย่างชัดเจน
3.ว่องไวรวดเร็ว ทำแบบฝึกหัดสั้น และสะท้อนผลอย่างรวดเร็ว
4. สนุกสนาน การจัดกิจกรรมต้องใช้ความคิดและแบบฝึกที่มีชีวิตชีวา
นอกจากนี้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้กล่าวถึงขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบหมวกคิด 6 ใบ ไว้ดังนี้
1. การเตรียมการจัดการเรียนรู้
1.1 ผู้สอนควรศึกษาหลักสูตรให้เข้าใจอย่างถ่องแท้จัดทำตารางการวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อตรวจสอบความสอดคล้องสัมพันธ์กับหลักการ จุดหมาย มาตรฐานการเรียนรู้ และคำอธิบายรายวิชาเพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้และออกแบบการจัดการเรียนรู้
1.2 กำหนดเทคนิควิธีสอนและกิจกรรมการสอนที่สอดคล้องกับข้อ 1 โดยเลือกใช้เทคนิควิธีสอนที่หลากหลาย
1.3 สำรวจองค์ประกอบที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
1.3.1 จัดเตรียมสื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.3.2 จัดเตรียมเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่หลากหลายครอบคลุมทั้งด้านพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย และเน้นการประเมินตามสภาพจริง
2. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน เป็นการจัดกิจกรรมที่เน้นกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจมีความพร้อมที่จะเรียนรู้ โดยใช้วิธีการและสื่อที่หลากหลายประกอบการใช้คำถาม กระตุ้นซักถาม ทบทวนหรือแสดงความคิดเห็นให้ผู้เรียนนำประสบการณ์เดิมมาเชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่
2.2 ขั้นดำเนินการสอน เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นการคิดด้วยการใช้คำถามหมวกความคิด 6 ใบ ลักษณะกิจกรรมมุ่งให้ผู้เรียนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้มากที่สุด กล่าวคือ ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ร่วมกันแสดงออกด้วยการตั้งคำถาม ตอบคำ
ถาม โดยออกแบบกรอบของการคิด ด้วยการใช้คำถามตามสีของหมวก (หมวกแต่ละสีใช้แทนวิธีคิดแต่ละแบบ) ซึ่งจะใช้หมวกสีใดก่อนหลังก็ได้ และผู้เรียนสามารถใช้คำถามของหมวกแต่ละสีได้ไม่จำกัดจำนวนครั้งจนกระทั่งได้คำตอบหรือองค์ความรู้ในเรื่องที่เรียนอย่างชัดเจน ในขั้นตอนนี้จึงจำเป็นต้องมีการร่วมกันวิเคราะห์เพื่อให้ได้ความจริง ข้อเท็จจริง หรือคำตอบที่ต้องการ
ลักษณะ คำถามที่นำมาใช้ในขั้นตอนนี้ เป็นดังนี้
หมวกสีขาว ใช้คำถามที่กระตุ้นให้เสนอข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงจากการอ่าน การสังเกต หรือ เหตุการณ์ เป็นต้น
หมวกสีแดง ใช้คำถามกระตุ้นเพื่ออธิบายความรู้สึกต่อข้อมูลเรื่องราว หรือเหตุการณ์ เป็นต้น
หมวกสีเหลือง ใช้คำถามให้ค้นหาข้อดี หรือจุดเด่นของข้อมูลเรื่องราว หรือเหตุการณ์ เป็นต้น
หมวกสีดำ ใช้คำถามให้ระบุสาเหตุของปัญหาความไม่สมบูรณ์ความล้มเหลว เป็นต้น
หมวกสีเขียว ใช้คำถามเสนอวิธีแก้ไข การเปลี่ยนไปสู่สิ่งที่ดีกว่าทางเลือกใหม่ เป็นต้น
หมวกสีฟ้า ใช้คำถามเพื่อตัดสินใจ หรือสรุปข้อมูล เช่น ข้อคิดความรู้ที่ได้รับ ทางเลือกที่จะนำไปปฏิบัติ เป็นต้น
2.3 ขั้นสรุป เป็นการสรุปผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผู้สอนเปิด
โอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม โดยผู้เรียนร่วมกันสรุปความรู้ ภาพรวมของเรื่องที่เรียนหรือสรุปสาระสำคัญของบทเรียน โดยนำความรู้ที่ได้ทั้งหมดมานำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันสรุปข้อค้นพบ หรือสังเคราะห์เป็นองค์ความรู้ใหม่
2.4 ขั้นประเมินผล ควรใช้วิธีการที่หลากหลาย ประเมินสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการจัดกิจกรรม ซึ่งได้จากการสรุปการทดสอบ การบันทึก การตรวจผลงาน การประเมินผล อาจเปิดโอกาสให้ผู้เรียน เพื่อน ผู้ปกครอง หรือชุมชนร่วมประเมินผลได้
ลักษณะ คำถามที่นำมาใช้ในขั้นตอนนี้ เป็นดังนี้
หมวกสีขาว ใช้คำถามที่กระตุ้นให้เสนอข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงจากการอ่าน การสังเกต หรือ เหตุการณ์ เป็นต้น
หมวกสีแดง ใช้คำถามกระตุ้นเพื่ออธิบายความรู้สึกต่อข้อมูลเรื่องราว หรือเหตุการณ์ เป็นต้น
หมวกสีเหลือง ใช้คำถามให้ค้นหาข้อดี หรือจุดเด่นของข้อมูลเรื่องราว หรือเหตุการณ์ เป็นต้น
หมวกสีดำ ใช้คำถามให้ระบุสาเหตุของปัญหาความไม่สมบูรณ์ความล้มเหลว เป็นต้น
หมวกสีเขียว ใช้คำถามเสนอวิธีแก้ไข การเปลี่ยนไปสู่สิ่งที่ดีกว่าทางเลือกใหม่ เป็นต้น
หมวกสีฟ้า ใช้คำถามเพื่อตัดสินใจ หรือสรุปข้อมูล เช่น ข้อคิดความรู้ที่ได้รับ ทางเลือกที่จะนำไปปฏิบัติ เป็นต้น
2.3 ขั้นสรุป เป็นการสรุปผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผู้สอนเปิด
โอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม โดยผู้เรียนร่วมกันสรุปความรู้ ภาพรวมของเรื่องที่เรียนหรือสรุปสาระสำคัญของบทเรียน โดยนำความรู้ที่ได้ทั้งหมดมานำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันสรุปข้อค้นพบ หรือสังเคราะห์เป็นองค์ความรู้ใหม่
2.4 ขั้นประเมินผล ควรใช้วิธีการที่หลากหลาย ประเมินสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการจัดกิจกรรม ซึ่งได้จากการสรุปการทดสอบ การบันทึก การตรวจผลงาน การประเมินผล อาจเปิดโอกาสให้ผู้เรียน เพื่อน ผู้ปกครอง หรือชุมชนร่วมประเมินผลได้
สุรป
เทคนิคการคิดแบบ six thinking hats จะเป็นการรวมความคิดด้านต่างๆ ไว้ครบถ้วนทุกด้าน ระบบให้คนคิดทีละด้าน มองทีละด้าน จากด้านหนึ่งไปมองอีกด้านหนึ่ง จะได้เห็นภาพจริงที่ชัดเจน ทำให้พิจารณาความคิดใหม่ ๆ ได้รอบคอบ เป็นผลให้เกิดความคิดที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น การคิดเป็นทักษะที่สามารถเรียนรู้ ฝึกฝน และพัฒนาได้ การใช้วิธีคิดแบบสวมหมวกคิดsix thinking hats จะช่วยให้ผู้คิดสามารถคิดอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนในการคิดอย่าง สร้างสรรค์และสามารถแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้ง่ายและรวดเร็วมากขึ้น
ตัวอย่างองค์กรที่มีการนำ Six Thinking Hats ไปใช้
บริษัท ไอบีเอ็ม ที่นำวิธีการ มาใช้ ทำให้สามารถลดเวลาในการประชุมแต่ละ ครั้งได้ถึง 75 % เนื่องจากเกิดการโต้เถียงในที่ประชุมน้อยลง เพราะไม่นำความคิดหลายด้านมาปะปนกัน ทำให้ช่วย ประหยัด เวลาได้มาก และมีองค์กร ขนาดใหญ่หลายแห่งทั่วโลก นำ Six Thinking Hats ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ พัฒนาองค์กร
การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน
แนวคิด การสอนแบบโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน เรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งตามความสนใจของผู้เรียนอย่างลุ่มลึก โดยผ่านกระบวนการหลักคือ กระบวนการแก้ปัญหา ผู้เรียนจะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเพื่อค้นหาคำตอบด้วยตนเอง จึงเป็นการเรียนรู้จากการได้มีประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรียนรู้
ความหมาย การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน คือ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดประสบการณ์ให้แก่นักเรียนเหมือนกับการทำงานในชีวิตจริง
วัตถุประสงค์ การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียน
1. มีประสบการณ์โดยตรง
2. ได้ทำการทดลองและพิสูจน์สิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง
3. รู้จักการทำงานอย่างมีระบบ มีขั้นตอน
4. ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
5. ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา
6. ได้รู้จักวิธีการต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา
7. ฝึกวิเคราะห์ และประเมินตนเอง
1. มีประสบการณ์โดยตรง
2. ได้ทำการทดลองและพิสูจน์สิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง
3. รู้จักการทำงานอย่างมีระบบ มีขั้นตอน
4. ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
5. ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา
6. ได้รู้จักวิธีการต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา
7. ฝึกวิเคราะห์ และประเมินตนเอง
ประเภทของโครงงาน1. โครงงานแบบสำรวจ
2. โครงงานแบบทดลอง
3. โครงงานสิ่งประดิษฐ์
4. โครงงานทฤษฎี
รูปแบบการจัดทำโครงงาน1. ชื่อโครงงาน
2. คณะทำงาน
3. ที่ปรึกษา
4. แนวคิด / ที่มา / ความสำคัญ
5. วัตถุประสงค์ / จุดมุ่งหมาย
6. ขั้นตอนการดำเนินงาน / วิธีการศึกษา
7. แหล่ง / สถานศึกษา (ถ้ามี)
2. โครงงานแบบทดลอง
3. โครงงานสิ่งประดิษฐ์
4. โครงงานทฤษฎี
รูปแบบการจัดทำโครงงาน1. ชื่อโครงงาน
2. คณะทำงาน
3. ที่ปรึกษา
4. แนวคิด / ที่มา / ความสำคัญ
5. วัตถุประสงค์ / จุดมุ่งหมาย
6. ขั้นตอนการดำเนินงาน / วิธีการศึกษา
7. แหล่ง / สถานศึกษา (ถ้ามี)
8. วัสดุ อุปกรณ์
9. งบประมาณ
10. ระยะเวลาการดำเนินงาน
11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
9. งบประมาณ
10. ระยะเวลาการดำเนินงาน
11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ขั้นตอนในการสอนทำโครงงาน การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานมี 4 ขั้นตอน คือ
1. กำหนดความมุ่งหมายและลักษณะโครงงานโดยตัวนักเรียนเอง
2. วางแผนหรือวางโครงงาน นักเรียนต้องช่วยกันวางแผนว่าจะทำอะไร ใช้วิธีการหรือกิจกรรมใด จึงจะบรรลุจุดมุ่งหมาย
3. ขั้นดำเนินการ ลงมือทำกิจกรรมหรือแก้ปัญหา
4. ประเมินผล โดยประเมินว่ากิจกรรมหรือโครงงานนั้นบรรลุผลตามความมุ่งหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ มีข้อบกพร่อง และควรแก้ไขให้ดีขึ้นอย่างไร
1. กำหนดความมุ่งหมายและลักษณะโครงงานโดยตัวนักเรียนเอง
2. วางแผนหรือวางโครงงาน นักเรียนต้องช่วยกันวางแผนว่าจะทำอะไร ใช้วิธีการหรือกิจกรรมใด จึงจะบรรลุจุดมุ่งหมาย
3. ขั้นดำเนินการ ลงมือทำกิจกรรมหรือแก้ปัญหา
4. ประเมินผล โดยประเมินว่ากิจกรรมหรือโครงงานนั้นบรรลุผลตามความมุ่งหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ มีข้อบกพร่อง และควรแก้ไขให้ดีขึ้นอย่างไร
ความแตกต่าง
เทคนิคการคิดแบบ six thinking hats จะเป็นการรวมความคิดด้านต่างๆ ไว้ครบถ้วนทุกด้าน ระบบให้คนคิดทีละด้าน มองทีละด้านจากด้านหนึ่งไปมองอีกด้านหนึ่ง จะได้เห็นภาพจริงที่ชัดเจน ทำให้พิจารณาความคิดใหม่ ๆ ได้รอบคอบ เป็นผลให้เกิดความคิดที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น การคิดเป็นทักษะที่สามารถเรียนรู้ ฝึกฝน และพัฒนาได้ การใช้วิธีคิดแบบสวมหมวกคิด six thinking hats จะช่วยให้ผู้คิดสามารถคิดอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนในการคิดอย่าง สร้างสรรค์และสามารถแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้ง่ายและรวดเร็วมากขึ้น
การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน
แนวคิดการสอนแบบโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรีย เรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งตามความสนใจของผู้เรียนอย่างลุ่มลึกโดยผ่านกระบวนการหลักคือ กระบวนการแก้ปัญหา ผู้เรียนจะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเพื่อค้นหาคำตอบด้วยตนเองจึงเป็นการเรียนรู้จากการได้มีประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรียนรู้
ความเหมือนคือขั้นตอนในการคิด สร้างสรรค์และสามารถแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น